Category Archives: แขวงบางรัก

แขวงบางรัก

แขวงบางรัก เป็นแขวงหนี่งใน 5  แขวงของ เขตบางรัก เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตในฝั่งพระนครของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาทางตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปทุมวันทางทิศเหนือและตะวันออก เขตสาทรทางทิศใต้ และติดต่อกับเขตสัมพันธวงศ์และเขตคลองสาน (ตรงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา) ทางตะวันตก มีพื้นที่ทั้งหมด 5.54 ตารางกิโลเมตร

LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตบางรักมีพื้นที่ทั้งหมด 5.54 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้[7]

เขตการปกครอง[แก้]

เขตบางรักแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 5 แขวง ดังนี้[7]

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2565)
ความหนาแน่น
(ธันวาคม 2565)
แผนที่
1.
มหาพฤฒาราม Maha Phruettharam
0.889
10,019
11,269.97
แผนที่
2.
สีลม Si Lom
2.074
17,108
8,248.80
3.
สุริยวงศ์ Suriyawong
0.820
4,287
5,228.05
4.
บางรัก Bang Rak
0.689
2,480
3,599.42
5.
สี่พระยา Si Phraya
1.064
10,020
9,417.29
ทั้งหมด
5.540
43,914
7,926.72

ประชากร[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) กรุงเทพฯ

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบได้สนับสนุนให้บริเวณเขตบางรักช่วงถนนเจริญกรุงเป็นพื้นที่เขตธุรกิจสร้างสรรค์ ในปัจจุบันเขตบางรักเป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจสร้างสรรค์ คือ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) และ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (CEA)[11] นอกจากนี้ในเขตบางรักประกอบไปด้วยอาคารสำนักงานและอาคารระฟ้าหลายแห่ง เช่น จิวเวลรี่ เทรด เซ็นเตอร์คิง เพาเวอร์ มหานคร และตึกสเตท

การท่องเที่ยว[แก้]

เขตบางรักเป็นที่ตั้งของโรงแรมหรูที่มีอายุเก่าแก่หลายแห่ง เช่น โรงแรมดุสิตธานีโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพโรงแรม ดับเบิ้ลยู กรุงเทพฯโรงแรมแชงการีลา นอกจากนี้เขตบางรักยังเป็นที่รู้จักจากสถานที่ท่องเที่ยวกลุ่มอาคารเก่าแก่สถาปัตยกรรมยุคโคโลเนียลและตะวันตก เช่น ศุลกสถาน (โรงภาษีร้อยชักสาม), ตึกเก่าอาคาร อีสต์ เอเชียติกบ้านสาทรพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอกอาคารไปรษณีย์กลาง และ ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์

สถานที่สำคัญ[แก้]

สถานทูต[แก้]

ในเขตบางรักเป็นที่ตั้งของสถานทูตดังต่อไปนี้[12]

การคมนาคม[แก้]

ถนนสาทรเหนือ

ระบบถนน[แก้]

ถนนสายหลัก ได้แก่

และถนนสายรอง เช่น

ระบบขนส่งมวลชน[แก้]

Call Now Button