Category Archives: เขตบางรัก

เขตบางรัก

เขตบางรัก เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตในฝั่งพระนครของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยาทางตะวันออก มีอาณาเขตติดต่อกับเขตปทุมวันทางทิศเหนือและตะวันออก เขตสาทรทางทิศใต้ และติดต่อกับเขตสัมพันธวงศ์และเขตคลองสาน (ตรงข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา) ทางตะวันตก

LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771

เขตบางรักเป็นบริเวณหนึ่งที่ชาวยุโรปเข้ามาตั้งรกรากเป็นบริเวณแรก ๆ ในกรุงเทพมหานคร เช่น คณะมิสซังต่างประเทศแห่งกรุงปารีส ซึ่งตั้งสวนท่านเป็นโบสถ์โรมันคาทอลิก (ปัจจุบันคือ อาสนวิหารอัสสัมชัญ) การตั้งโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยของคณะมิชชันนารีอเมริกันเพรสไบทีเรียน, การตั้งสถานทูตฝรั่งเศสและโปรตุเกส และการตั้งโกดังเก็บสินค้าไปจนถึงอาคารสำนักงานของบริษัทอีสต์เอเชียติก เป็นต้น[2] ในปี 2559 ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบได้ย้ายที่ตั้งสำนักงานใหญ่จากที่เขตคลองเตย มาอยู่ที่อาคารไปรษณีย์กลาง ในเขตบางรัก พร้อมทั้งสนับสนุนและประกาศให้พื้นที่รอบถนนเจริญกรุงในเขตบางรักให้เป็นเขตธุรกิจสร้างสรรค์[3]ในชื่อ “สร้างสรรค์เจริญกรุง”[4] คำขวัญของเขตบางรักได้ให้ลักษณะของเขตว่าเป็น “โซนนิงสถานบริการ” (เช่น พัฒน์พงศ์, อดีตซอยประตูชัย), “ย่านที่พักโรงแรมหรู” (เช่น โรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพโรงแรมเชอราตัน) และ “แหล่งเรียนรู้โรงเรียนดัง” (เช่น โรงเรียนเอกชนเก่าแก่ โรงเรียนอัสสัมชัญโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัยโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์) นอกจากนี้เขตบางรักยังเป็นที่รู้จักจากอาคารเก่าสถาปัตยกรรมโคโลเนียลและตะวันตก[5] เช่น ศุลกสถานอาคาร อีสต์ เอเชียติกห้องสมุดเนียลสัน เฮส์ และพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอก ในปัจจุบันเขตบางรักยังเป็นที่ตั้งของอาคารสำนักงาน ตึกระฟ้าจำนวนมากในย่านสีลม ซึ่งเป็นหนึ่งในบริเวณที่มีมูลค่าที่ดินสูงที่สุดในประเทศไทย อยู่ที่ 1.7 ล้านบาท ต่อตารางวา ในการคาดการณ์ปี 2560 สูงเป็นอันดับที่สามในประเทศไทยรองจากย่านสยามสแควร์ และย่านชิดลมในเขตปทุมวัน[6]

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตบางรักมีพื้นที่ทั้งหมด 5.54 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยู่ริมฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา (ฝั่งพระนคร) มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้[7]

สัญลักษณ์[แก้]

สัญลักษณ์ประจำเขตบางรัก ได้แก่[7]

  • ตราประจำเขตบางรัก ประกอบรูปกังหันลมสีเหลืองบนพื้นหลังสีม่วง รูปกังหันลม 5 แฉกสื่อถึง โรงสีซึ่งในอดีตมีมากบนถนนสีลมซึ่งเป็นที่มาของชื่อถนนสีลม ส่วนแฉกทั้ง 5 สื่อถึงแขวง 5 แขวงในเขตบางรัก ด้านล่างเป็นพวงดอกรัก ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำเขต
  • ดอกไม้ประจำเขตบางรัก คือ ดอกรัก ซึ่งเป็นข้อสันนิษฐานของที่มาของชื่อเขตบางรัก
  • สีประจำเขตบางรัก คือ สีม่วง  
  • คำขวัญประจำเขต คือ
    “เขตเศรษฐกิจ แท้จริง
    โซนนิ่ง สถานบริการ
    ถิ่นตำนาน แห่งความรัก
    ย่านที่พัก โรงแรมหรู
    แหล่งเรียนรู้ โรงเรียนดัง”
    บางรัก บาง…รักประชาชน

ศัพทมูล[แก้]

ที่มาของชื่อเขตบางรักมีการสันนิษฐานอยู่หลายทฤษฎี ได้แก่

  • สันนิษฐานว่าบริเวณเขตบางรักนี้ในอดีตมีคลองเล็ก ๆ สายหนึ่งที่ไหลลงแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งมีซุงของต้นรักขนาดใหญ่ในคลองนั้น จึงเรียกชื่อบริเวณนี้ตามชื่อไม้ว่า “บางรัก” ส่วนบริเวณที่เคยเป็นคอลงที่มีซุงนั้น เชื่อว่าเป็นบริเวณตรอกซุงในปัจจุบัน[8]
  • สันนิษฐานว่าบริเวณนี้ในอดีตมีต้นรักขึ้นอยู่เป็นจำนวนมากจนเป็นที่มาของชื่อ “บางรัก“[9] ความเชื่อนี้ในปัจจุบันได้รับการยอมรับมาก สังเกตจากตราสัญลักษณ์ประจำเขตนั้นก็ใช้รูปดอกรักประกอบ ตามความเชื่อว่าเป็นที่มาของชื่อเขต[7]
  • สันนิษฐานว่าเพี้ยนมาจากคำว่า “บางรักษ์” ซึ่งมาจากสำนักงานอำเภอในอดีตตั้งอยู่ตรงข้ามกับโรงพยาบาลแห่งหนึ่งที่เป็นที่รู้จัก อย่างไรก็ตามแนวคิดนี้ถูกคัดค้านว่ามาจากถูกเข้าใจผิดจากชื่อของ อำเภอบางรักษ์ ในย่านบ้านทวาย (บริเวณต่อระหว่างเขตสาทร กับเขตบางรักในปัจจุบัน)[8]
  • สันนิษฐานว่าในอดีต เป็นย่านที่มีชื่อว่าคลองบางขวางล่างใต้ เนื่องด้วยเป็นบริเวณที่มีการทะเลาะวิวาทถึงขั้นฆ่ากันตายบ่อยครั้ง ชาวบ้านจึงขอให้ใช้ชื่อที่เป็นมงคลเรียกย่านนี้ว่า “บางรัก” แทนชื่อเดิม[9]

ในปัจจุบันเป็นที่เชื่อกันในความเป็นสิริมงคลของชื่อเขตบางรัก ว่ามีความเกี่ยวข้องกับความรัก ในทุก ๆ ปี สำนักงานเขตจะจัดพิธีจดทะเบียนสมรสหมู่ขึ้นในวันวาเลนไทน์ของทุกปี แสดงให้เห็นความนิยมในชื่อของ “รัก” ที่ปรากฏในชื่อเขตในฐานะของความรัก[9]

ประวัติ[แก้]

เขตบางรักตลอดริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา

อำเภอบางรักก่อตั้งขึ้นเป็นทางการในวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2450 โดยการรวมพื้นที่อำเภอชั้นในของพระนคร 4 อำเภอตามประกาศกระทรวงนครบาล นับเป็น 1 ใน 8 อำเภอของกรุงเทพฯ ในขณะนั้น ต่อมาใน พ.ศ. 2515 หลังการประกาศของคณะปฏิวัติให้จัดตั้งกรุงเทพมหานครขึ้นแทนที่นครหลวงกรุงเทพธนบุรีซึ่งเกิดจากการรวมกันของจังหวัดพระนครและจังหวัดธนบุรี อำเภอบางรักจึงได้รับการเปลี่ยนแปลงฐานะเป็น เขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ส่วนตำบลต่าง ๆ ก็เปลี่ยนสถานะฐานะเป็นแขวงแทน[8]

เขตการปกครอง[แก้]

เขตบางรักแบ่งหน่วยการปกครองย่อยออกเป็น 5 แขวง ดังนี้[7]

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2565)
ความหนาแน่น
(ธันวาคม 2565)
แผนที่
1.
มหาพฤฒาราม Maha Phruettharam
0.889
10,019
11,269.97
แผนที่
2.
สีลม Si Lom
2.074
17,108
8,248.80
3.
สุริยวงศ์ Suriyawong
0.820
4,287
5,228.05
4.
บางรัก Bang Rak
0.689
2,480
3,599.42
5.
สี่พระยา Si Phraya
1.064
10,020
9,417.29
ทั้งหมด
5.540
43,914
7,926.72

ประชากร[แก้]

เศรษฐกิจ[แก้]

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) กรุงเทพฯ

ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบได้สนับสนุนให้บริเวณเขตบางรักช่วงถนนเจริญกรุงเป็นพื้นที่เขตธุรกิจสร้างสรรค์ ในปัจจุบันเขตบางรักเป็นที่ตั้งของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประกอบธุรกิจสร้างสรรค์ คือ ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC) และ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (CEA)[11] นอกจากนี้ในเขตบางรักประกอบไปด้วยอาคารสำนักงานและอาคารระฟ้าหลายแห่ง เช่น จิวเวลรี่ เทรด เซ็นเตอร์คิง เพาเวอร์ มหานคร และตึกสเตท

การท่องเที่ยว[แก้]

เขตบางรักเป็นที่ตั้งของโรงแรมหรูที่มีอายุเก่าแก่หลายแห่ง เช่น โรงแรมดุสิตธานีโรงแรมแมนดาริน โอเรียนเต็ล กรุงเทพโรงแรม ดับเบิ้ลยู กรุงเทพฯโรงแรมแชงการีลา นอกจากนี้เขตบางรักยังเป็นที่รู้จักจากสถานที่ท่องเที่ยวกลุ่มอาคารเก่าแก่สถาปัตยกรรมยุคโคโลเนียลและตะวันตก เช่น ศุลกสถาน (โรงภาษีร้อยชักสาม), ตึกเก่าอาคาร อีสต์ เอเชียติกบ้านสาทรพิพิธภัณฑ์ชาวบางกอกอาคารไปรษณีย์กลาง และ ห้องสมุดเนียลสัน เฮส์

สถานที่สำคัญ[แก้]

สถานทูต[แก้]

ในเขตบางรักเป็นที่ตั้งของสถานทูตดังต่อไปนี้[12]

สถานศึกษา[แก้]

โรงเรียนอัสสัมชัญ

เขตบางรักเป็นที่ตั้งของสถานศึกษาที่มีชื่อเสียงเก่าแก่หลายแห่ง ดังที่ปรากฏในคำขวัญเขตวรรค “แหล่งเรียนรู้โรงเรียนดัง” โดยในเขตบางรักเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเอกชนเก่าแก่ของประเทศไทย เช่น โรงเรียนอัสสัมชัญ โรงเรียนคาทอลิกแห่งแรกในประเทศไทย, โรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย โรงเรียนเอกชนแห่งแรกในประเทศไทย, โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนเวนต์ โรงเรียนส

สะพานพระเจ้าตากสิน หลังคา พียู ลายไม้

แขวงบางรัก แผ่นใส สีขาวขุ่น

แขวงมหาพฤฒาราม แผ่นใส สีใสกระจก

แขวงสีลม หลังคา แซนวิช พียูโฟม

แขวงสี่พระยา หลังคา พียู โฟม

แขวงสุริยวงศ์ แผ่นหลังคาโปร่งแสง

แขวงสุริยวงศ์ หลังคา พียู โฟม

แขวงสุริยวงศ์ หลังคา พียู โฟม  แขวงสุริยวงศ์ หลังคา พีย […]

แขวงสี่พระยา หลังคา พียู โฟม

แขวงสี่พระยา หลังคา พียู โฟม แขวงสี่พระยา หลังคา พียู โ […]

แขวงสีลม หลังคา พียู โฟม

แขวงสีลม หลังคา พียู โฟม แขวงสีลม หลังคา พียู โฟม PU Fo […]

มหาพฤฒาราม หลังคา พียู โฟม

มหาพฤฒาราม หลังคา พียู โฟม มหาพฤฒาราม หลังคา พียู โฟม P […]

Call Now Button