Category Archives: อำเภอ ธัญบุรี
อำเภอ ธัญบุรี
อำเภอ ธัญบุรี is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the focus keyword name in category.
อำเภอ ธัญบุรี Amphoe Thanyaburi is one of 7 districts of จังหวัดปทุมธานี Pathum Thani Province, Thailand.
อำเภอธัญบุรี
|
ธัญบุรี [ทัน-ยะ-บุ-รี][1] เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี มีลักษณะเป็นแนวยาวขนานไปกับคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปจนสุดเขตจังหวัด เป็นพื้นที่ที่มีความเจริญมากกว่าอำเภอเมืองปทุมธานี เนื่องจากเป็นทางผ่านของการคนนาคมไปภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีเขตเทศบาลนคร 1 แห่ง เขตเทศบาลเมือง 2 แห่ง และเขตเทศบาลตำบลอีก 1 แห่งในพื้นที่
เนื้อหา
ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]
อำเภอธัญบุรีตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังนี้
- ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอคลองหลวงและอำเภอหนองเสือ มีแนวลำรางสาธารณะห่างจากคลองรังสิตประยูรศักดิ์ 1.6 กิโลเมตร เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันออก ติดต่อกับอำเภอองครักษ์ (จังหวัดนครนายก) มีคลองสิบสี่เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอลำลูกกา มีแนวเส้นขนานคลองรังสิตประยูรศักดิ์ไปทางทิศใต้ 1.6 กิโลเมตร เป็นเส้นแบ่งเขต
- ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอเมืองปทุมธานี มีทางรถไฟสายเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต
การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]
การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]
พื้นที่อำเภอธัญบุรีแบ่งเขตการปกครองย่อย เป็น 6 ตำบล แต่ละตำบลแบ่งออกเป็น หมู่บ้าน รวม 12 หมู่บ้าน ได้แก่
ลำดับที่ | ตำบล | จำนวนหมู่บ้าน | ประชากรทั้งหมด (พ.ศ. 2560) [13] |
ประชากรในเขตเทศบาล (พ.ศ. 2560) [13] |
|
---|---|---|---|---|---|
1. | ประชาธิปัตย์ (Prachathipat) |
– | 82,483 | 82,483 | (ทน. รังสิต) |
2. | บึงยี่โถ (Bueng Yitho) |
4 | 31,891 | 31,891 | (ทม. บึงยี่โถ) |
3. | รังสิต (Rangsit) |
4 | 24,735 | 24,735 | (ทต. ธัญบุรี) |
4. | ลำผักกูด (Lam Phak Kut) |
4 | 37,185 | 37,185 | (ทต. ธัญบุรี) |
5. | บึงสนั่น (Bueng Sanan) |
– | 12,260 | 12,260 | (ทม. สนั่นรักษ์) |
6. | บึงน้ำรักษ์ (Bueng Nam Rak) |
– | 18,028 | 18,028 | (ทม. สนั่นรักษ์) |
รวม | 12 | 206,582 | 206,582 |
การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]
อำเภอธัญบุรีประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 แห่ง ได้แก่
- เทศบาลนครรังสิต ครอบคลุมพื้นที่ตำบลประชาธิปัตย์ทั้งตำบล (ทางรถไฟสายเหนือ-คลองสาม)
- เทศบาลเมืองบึงยี่โถ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบึงยี่โถทั้งตำบล (คลองสาม-คลองห้า)
- เทศบาลเมืองสนั่นรักษ์ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบึงสนั่นและตำบลบึงน้ำรักษ์ทั้งตำบล (คลองเก้า-คลองสิบสี่)
- เทศบาลตำบลธัญบุรี ครอบคลุมพื้นที่ตำบลรังสิตและตำบลลำผักกูดทั้งตำบล (คลองห้า-คลองเก้า)
เอ็มเค เมทัลชีท (MK Metalsheet)
จังหวัดปทุมธานี (เดิมสะกดว่า ประทุมธานี[3]) เป็นจังหวัดหนึ่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย เป็นหนึ่งในห้าจังหวัดในพื้นที่ปริมณฑลของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ทางทิศเหนือของกรุงเทพมหานคร เทศบาลที่ตั้งศาลากลางจังหวัด คือ เทศบาลเมืองปทุมธานี แต่เทศบาลที่มีประชากรมากที่สุดในจังหวัด คือ เทศบาลนครรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในอำเภอธัญบุรี[4]
เนื้อหา
ประวัติศาสตร์[แก้]
จังหวัดปทุมธานีมีความเป็นถิ่นฐานบ้านเมืองมาแล้วไม่น้อยกว่า 300 ปี นับตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา คือ เมื่อ พ.ศ. 2202 มังนันทมิตรได้กวาดต้อนครอบครัวมอญ เมืองเมาะตะมะ อพยพหนีภัยจากศึกพม่า เข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวกรุงเทพทวาราวดีศรีอยุธยา ซึ่งสมเด็จพระนายรายณ์มหาราชทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ครอบครัวมอญเหล่านั้นไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคก ต่อมาในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชแห่งกรุงธนบุรี ชาวมอญได้อพยพหนีพม่าเข้ามาพึ่งพระบรมโพธิสมภารอีกเป็นครั้งที่ 2 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งบ้านเรือนที่บ้านสามโคกอีก และในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ก็ได้มีการอพยพชาวมอญครั้งใหญ่จากเมืองเมาะตะมะเข้าสู่ประเทศไทยเรียกว่า “มอญใหญ่” พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ชาวมอญบางส่วนตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านสามโคกอีกเช่นเดียวกัน จากชุมชนขนาดเล็ก บ้านสามโคกจึงกลายเป็น เมืองสามโคก ในเวลาต่อมา
ต่อมาเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2358 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนชื่อเมืองสามโคก เป็น เมืองประทุมธานี และเมื่อ พ.ศ. 2461 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ใช้คำว่า “จังหวัด” แทน “เมือง” และให้เปลี่ยนการสะกดชื่อใหม่จาก “ประทุมธานี” เป็น “ปทุมธานี” กลายเป็น จังหวัดปทุมธานี ต่อมาเมื่อ พ.ศ. 2475 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้ยุบจังหวัดธัญบุรีมาขึ้นกับจังหวัดปทุมธานี จังหวัดปทุมธานีจึงได้แบ่งการปกครองเป็น 7 อำเภอดังเช่นปัจจุบัน
การเมืองการปกครอง[แก้]
หน่วยการปกครอง[แก้]
การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้]
จังหวัดปทุมธานีแบ่งเขตการปกครองส่วนภูมิภาค (ตามกฎหมายลักษณะปกครองท้องที่) ออกเป็น 7 อำเภอ 60 ตำบล 529 หมู่บ้าน แต่หากไม่นับรวมหน่วยการปกครองในเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนครซึ่งยุบเลิกตำแหน่งกำนันและผู้ใหญ่บ้านแล้ว จะมีทั้งหมด – ตำบล – หมู่บ้าน โดยอำเภอทั้ง 7 อำเภอของจังหวัดปทุมธานี มีรายชื่อและข้อมูลทั่วไปดังนี้
ลำดับ [# 1][5] |
ชื่ออำเภอ | พื้นที่ (ตร.กม.) |
ห่างจากตัวจังหวัด (ก.ม.)[6][7] |
ก่อตั้ง (พ.ศ.)[8] |
ตำบล [# 2][8] |
หมู่บ้าน [# 3][8] |
ประชากร (คน) (พ.ศ. 2554) |
แผนที่ |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 |
120.151
|
– | 14 | 81 |
179,876
|
|||
2 |
299.152
|
22.1
|
7 | 71 |
239,172
|
|||
3 |
112.124
|
18.1
|
6 | 12 |
203,692
|
|||
4 |
413.632
|
57.9
|
7 | 69 |
50,322
|
|||
5 |
183.12
|
17.9
|
7 | 61 |
58,624
|
|||
6 |
297.71
|
39.4
|
8 | 114 |
240,178
|
|||
7 |
94.967
|
8.1
|
11 | 58 |
52,563
|
- ↑ เรียงตามรหัสเขตการปกครองของกรมการปกครอง
- ↑ รวมตำบลในเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนครด้วย
- ↑ เฉพาะหมู่บ้านนอกเขตเทศบาลเมืองและเทศบาลนคร (ทั้งเต็มหมู่และบางส่วน) เท่านั้น สำหรับจำนวนหมู่บ้านทั้งหมด ให้ดูในบทความของแต่ละอำเภอ
การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้]
พื้นที่จังหวัดปทุมธานีประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 65 แห่ง แบ่งตามประเภทและอำนาจบริหารจัดการภายในท้องที่ได้เป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 9 แห่ง เทศบาลตำบล 17 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล 37 แห่ง[9]
ลำดับ | ชื่อเทศบาล | พื้นที่ (ตร.กม.) |
ตั้งเมื่อ (พ.ศ.)[# 1] |
อำเภอ | ครอบคลุมตำบล | ประชากร (คน) (ณ สิ้นปี 2555) [10] |
||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ทั้งตำบล | บางส่วน | รวม | ||||||||||||||
เทศบาลนคร | ||||||||||||||||
1 |
21.42[11]
|
2554 | ธัญบุรี | 1 | – | 1 |
78,826
|
|||||||||
เทศบาลเมือง | ||||||||||||||||
2 (1) |
8.89[12]
|
2479[13] | เมืองปทุมธานี | 1 | – | 1 |
22,409
|
|||||||||
3 (2) |
11.53[14]
|
2539[15] | ลำลูกกา | – | 1 | 1 |
45,919
|
|||||||||
4 (3) |
60.81[16]
|
2544[17] | คลองหลวง | – | 2 | 2 |
68,456
|
|||||||||
5 (4) |
43.19[18]
|
2547[19] | คลองหลวง | – | 2 | 2 |
54,824
|
|||||||||
6 (5) |
43.08
|
2547[20] | ธัญบุรี | 2 | – | 2 |
26,837
|
|||||||||
7 (6) |
11.65[21]
|
2550[22] | ลำลูกกา | – | 1 | 1 |
60,541
|
|||||||||
8 (7) |
20.47 [23]
|
2554[24] | เมืองปทุมธานี | 1 | – | 1 |
23,959
|
|||||||||
9 (8) |
15.07[25]
|
2554[26] | ธัญบุรี | 1 | 1 |
30,766
|
||||||||||
10 (9) |
31.10[27]
|
2554[28] | ลำลูกกา | 1 | – | 1 |
53,054
|
|||||||||
เทศบาลตำบล | ||||||||||||||||
11 (1) | 32.62 | 2542 | ธัญบุรี | 2 | – | 2 |
57,257
|
|||||||||
12 (2) | 14.60 | 2542 | ลำลูกกา | – | 2 | 2 |
15,199
|
|||||||||
13 (3) | 2.74 | 2542 | ลำลูกกา | – | 1 | 1 |
2,854
|
|||||||||
14 (4) | 15.66 | 2542 | หนองเสือ | – | 1 | 1 |
2,510
|
|||||||||
15 (5) | 5.51 | 2542 | เมืองปทุมธานี | – | 3 | 3 |
6,665
|
|||||||||
16 (6) | 23.41 | 2542 | สามโคก | – | 1 | 1 |
10,113
|
|||||||||
17 (7) | 18.74 | 2542 | ลาดหลุมแก้ว | – | 1 | 1 |
9,027
|
|||||||||
18 (8) | 10.56 | 2546 | เมืองปทุมธานี | 1 | – | 1 |
11,160
|
|||||||||
19 (9) | 11.21 | 2550 | เมืองฯ | 1 | – | 1 | ||||||||||
20 (10) | 14.64 | 2551 | ลาดหลุมแก้ว | 1 | – | 1 | ||||||||||
21 (11) | 5.87 | 2554 | สามโคก | 1 | – | 1 | ||||||||||
22 (12) | 15.15 | 2554 | ลาดหลุมแก้ว | 1 | – | 1 | ||||||||||
23 (13) | 10.81 | 2554 | เมืองปทุมธานี | – | 1 | 1 | ||||||||||
24 (14) | 6.21 | 2554 | เมืองปทุมธานี | 1 | – | 1 | ||||||||||
25 (15) | 9.42 | 2554 | เมืองปทุมธานี | 1 | – | 1 | ||||||||||
26 (16) | 9.19 | 2554 | เมืองปทุมธานี | 1 | – | 1 | ||||||||||
27 (17) | 9.32 | 2554 | เมืองปทุมธานี | 1 | – | 1 |
- ↑ หมายถึงปีที่ได้รับการยกฐานะเป็นเทศบาลในระดับปัจจุบัน