Category Archives: ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ

ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ

ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ is the position for activity in post to be presented at the first rank on Google page search by address the focus keyword name in category.

ฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ Samut Prakarn Crocodile Farm and Zoo ที่อยู่ 555 ถนนท้ายบ้าน ตำบล ปากน้ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ 10280

ตำบล ปากน้ำ Tambon Paknam is one of 10 sub-districts of อำเภอเมืองสมุทรปราการ Amphoe Mueang Samut Prakan.

อำเภอเมืองสมุทรปราการ Amphoe Mueang Samut Prakan is one of 7 districts of จังหวัดสมุทรปราการ Samut Prakan Province, Thailand.

ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ไบยังการนำทางไปยังการค้นหา

การแสดงคนกับจระเข้ในฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ

ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ เป็นฟาร์มจระเข้ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ตั้งอยู่ในเขตตำบลท้ายบ้าน อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เปิดดำเนินการมาตั้งแต่ พ.ศ. 2493 ภายในเป็นสถานเพาะเลี้ยงจระเข้กว่า 40,000 ตัว มีการแสดงวิธีจับจระเข้ด้วยมือเปล่า นอกจากจระเข้ ก็มีส่วนที่เป็นสวนสัตว์ที่เปิดให้บริการ มีการแสดงช้างและละครลิงให้แก่นักท่องเที่ยวชม รวมถึงสัตว์ประเภทอื่น เช่น ชะนี, งูเหลือม-งูหลาม, เต่า, นก, อูฐ, ฮิปโปโปเตมัส

นอกจากนี้แล้วยังมีพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ ซึ่งจัดแสดงกระดูกและหุ่นจำลองไดโนเสาร์ขนาดเท่าตัวจริงกว่า 13 ชนิด พร้อมฉายสไลด์มัลติวิชั่น ว่าด้วยเรื่องของมนุษย์และสัตว์ดึกดำบรรพ์

ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการเปิดให้เข้าชมทุกวัน ระหว่างเวลา 07.00-18.00 น.

การเดินทาง[แก้]

รถประจำทาง[แก้]

ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการมีท่ารถประจำทาง ขสมก. สาย 142, 508, 511 และ 536 (เข้าไปในบริเวณด้านนอกของฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ) มีดังนี้

– สาย 142 : ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ – (ทางด่วน) – อู่แสมดำ

– สาย 508 : ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ – ท่าราชวรดิฐ

– สาย 508 : ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ – (ทางด่วน) – ท่าราชวรดิฐ

– สาย 511 : ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ – สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)

– สาย 511 : ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ – (ทางด่วน) – สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (ถนนบรมราชชนนี)

– สาย 536 : ฟาร์มจระเข้และสวนสัตว์สมุทรปราการ – (ทางด่วน) – อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ – สถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพ (จตุจักร) [1]

อ้างอิง[แก้]

  1. กระโดดขึ้น หน้า 14 ต่อข่าวหน้า 1, รู้จักฟาร์มจระเข้สมุทรปราการ. “เคียงข่าว” เดลินิวส์ฉบับที่ 23,714: วันอังคารที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2557 แรม 8 ค่ำ เดือน 10 ปีมะเมีย

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

พิกัดภูมิศาสตร์13.572107°N 100.597697°E

เอ็มเค เมทัลชีท (MK Metalsheet)

เมืองสมุทรปราการ เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำเจ้าพระยาตรงข้ามกับอำเภอพระสมุทรเจดีย์ นอกจากเป็นที่ตั้งของศาลากลางจังหวัดแล้ว อำเภอเมืองสมุทรปราการยังเป็นที่ตั้งของศาลเด็กและเยาวชน ห้องสมุดประชาชน และท่ารถโดยสารประจำทางสายต่าง ๆ รวมทั้งเป็นบริเวณที่จัดงานพระสมุทรเจดีย์ของทุกปี อำเภอนี้เป็นอำเภอที่มีประชากรมากที่สุดในประเทศไทย

ประวัติศาสตร์[แก้ไขต้นฉบับ]

  • พ.ศ. …………. ตั้งอำเภอเมืองสมุทรปราการ
  • วันที่ 11 ธันวาคม 2478 จัดตั้งเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[1]
  • วันที่ 1 มกราคม 2486 จังหวัดสมุทรปราการ ได้ยุบลงเนื่องจากขณะนั้นในช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาสภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ อำเภอเมืองสมุทรปราการจึงย้ายไปขึ้นกับจังหวัดพระนคร และ เปลี่ยนชื่ออำเภอเป็น อำเภอสมุทรปราการ[2]
  • วันที่ 10 พฤษภาคม 2489 ตั้งจังหวัดสมุทรปราการ ขึ้นมาอีกครั้งหนึ่ง[3]
  • วันที่ 25 กันยายน 2489 อำเภอสมุทรปราการเปลี่ยนชื่อกลับมาเป็น อำเภอเมืองสมุทรปราการ[4]
  • วันที่ 20 กันยายน 2505 ตั้งตำบลบางปูใหม่ แยกออกจากตำบลบางปู[5]
  • วันที่ 2 พฤศจิกายน 2505 เปลี่ยนแปลงเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[6]
  • วันที่ 28 มกราคม 2506 จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงเหนือในท้องที่บางส่วนของตำบลสำโรงเหนือ และ บางส่วนของตำบลบางเมือง[7]
  • วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2506 โอนพื้นที่หมู่ 1-5 (บางส่วน) ของตำบลบางเมือง หมู่ 4-5 (บางส่วน) และ หมู่ 7 (บางส่วน) ของตำบลบางด้วน หมู่ 1-3 (บางส่วน) หมู่ 4 (ทั้งหมู่) หมู่ 6 (บางส่วน) และ หมู่ 7 (ทั้งหมู่) ของตำบลท้ายบ้าน ให้ไปรวมกับตำบลปากน้ำ เนื่องจากได้ขยายอาณาเขตเทศบาลเมืองสมุทรปราการ[8]
  • วันที่ 2 สิงหาคม 2508 จัดตั้งสุขาภิบาลบางปูในท้องที่ตำบลบางปู ตำบลบางปูใหม่ และตำบลท้ายบ้าน[9]
  • วันที่ 15 กรกฎาคม 2522 ตั้งตำบลบ้านคลองสวน แยกออกจากตำบลนาเกลือ[10]
  • วันที่ 15 ธันวาคม 2527 แยกพื้นที่ตำบลปากคลองบางปลากด ตำบลในคลองบางปลากด ตำบลแหลมฟ้าผ่า ตำบลนาเกลือ และตำบลบ้านคลองสวน ไปตั้งเป็น กิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ขึ้นกับอำเภอเมืองสมุทรปราการ[11]
  • วันที่ 1 สิงหาคม 2529 ตั้งตำบลบางเมืองใหม่ แยกออกจากตำบลบางเมือง[12]
  • วันที่ 1 กรกฎาคม 2533 ตั้งตำบลเทพารักษ์ แยกออกจากตำบลสำโรงเหนือ[13]
  • วันที่ 19 กรกฎาคม 2534 ยกฐานะจากกิ่งอำเภอพระสมุทรเจดีย์ อำเภอเมืองสมุทรปราการ เป็น อำเภอพระสมุทรเจดีย์[14]
  • วันที่ 12 กรกฎาคม 2536 จัดตั้งสุขาภิบาลแพรกษาในท้องที่บางส่วนของตำบลแพรกษา[15]
  • วันที่ 18 กรกฎาคม 2537 จัดตั้งสุขาภิบาลด่านสำโรงในท้องที่บางส่วนของตำบลสำโรงเหนือ[16] และจัดตั้งสุขาภิบาลบางเมือง ในท้องที่บางส่วนของตำบลบางเมือง และตำบลสำโรงเหนือ[17]
  • วันที่ 1 สิงหาคม 2538 ตั้งตำบลท้ายบ้านใหม่ แยกออกจากตำบลท้ายบ้าน[18]
  • วันที่ 21 สิงหาคม 2538 ตั้งตำบลแพรกษาใหม่ แยกออกจากตำบลแพรกษา[19]
  • วันที่ 7 กันยายน 2538 จัดตั้งสุขาภิบาลสำโรงเหนือเป็นเทศบาลตำบลสำโรงเหนือ[20]
  • วันที่ 24 มีนาคม 2542 ยกฐานะเทศบาลเมืองสมุทรปราการเป็นเทศบาลนครสมุทรปราการ[21]
  • วันที่ 25 พฤษภาคม 2542 จัดตั้งสุขาภิบาลบางเมือง สุขาภิบาลด่านสำโรง สุขาภิบาลบางปู และสุขาภิบาลแพรกษา เป็นเทศบาลตำบลบางเมือง เทศบาลตำบลด่านสำโรง เทศบาลตำบลบางปู และเทศบาลตำบลแพรกษาตามลำดับ

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้ไขต้นฉบับ]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้ไขต้นฉบับ]

การปกครองส่วนภูมิภาค[แก้ไขต้นฉบับ]

อำเภอเมืองสมุทรปราการแบ่งเขตปกครองย่อยออกเป็น 13 ตำบล 95 หมู่บ้าน ได้แก่

1. ปากน้ำ (Pak Nam) 8. บางปู (Bang Pu) 4 หมู่บ้าน
2. สำโรงเหนือ (Samrong Nuea) 9 หมู่บ้าน 9. บางด้วน (Bang Duan) 6 หมู่บ้าน
3. บางเมือง (Bang Mueang) 11 หมู่บ้าน 10. บางเมืองใหม่ (Bang Mueang Mai) 10 หมู่บ้าน
4. ท้ายบ้าน (Thai Ban) 6 หมู่บ้าน 11. เทพารักษ์ (Thepharak) 10 หมู่บ้าน
5. บางปูใหม่ (Bang Pu Mai) 10 หมู่บ้าน 12. ท้ายบ้านใหม่ (Thai Ban Mai) 9 หมู่บ้าน
6. แพรกษา (Phraekkasa) 3 หมู่บ้าน 13. แพรกษาใหม่ (Phraekkasa Mai) 4 หมู่บ้าน
7. บางโปรง (Bang Prong) 4 หมู่บ้าน

การปกครองส่วนท้องถิ่น[แก้ไขต้นฉบับ]

อำเภอเมืองสมุทรปราการประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 12 แห่ง ได้แก่

การศึกษา[แก้ไขต้นฉบับ]

ในอำเภอเมืองสมุทรปราการมีห้องสมุดประชาชนตั้งอยู่บริเวณตรงข้ามกับศาลากลางจังหวัด และพิพิธภัณฑ์สวาง พิพิธภัณฑ์นายเรือ มีโรงเรียนตั้งแต่ระดับอนุบาลศึกษา จนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย

โรงเรียนในอำเภอ[แก้ไขต้นฉบับ]

อาชีวะศึกษาในอำเภอ[แก้ไขต้นฉบับ]

การคมนาคม[แก้ไขต้นฉบับ]

อำเภอเมืองสมุทรปราการมีถนนสายหลัก ได้แก่

ถนนสายรอง ได้แก่

รถไฟฟ้า

การคมนาคมทางน้ำ ได้แก่ แม่น้ำเจ้าพระยา มีท่าเรือวิบูลย์ศรีบริการเรือข้ามฟากไปยังอำเภอพระสมุทรเจดีย์ ส่วนคลองที่สำคัญ ได้แก่ คลองสำโรง คลองบางปิ้ง คลองแพรกษา คลองขุด (เลียบถนนตำหรุ-บางพลี) และคลองชลประทาน (เลียบถนนสุขุมวิท)

Call Now Button