Category Archives: เขตสวนหลวง

เขตสวนหลวง

เขตสวนหลวง เป็นหนึ่งในห้าสิบเขตของกรุงเทพมหานคร ตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของฝั่งพระนคร สภาพทั่วไปเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย

LINE: @MKMETALSHEET; 087-808-7771

ที่ตั้งและอาณาเขต[แก้]

เขตสวนหลวงตั้งอยู่ทางตอนกลางค่อนไปทางใต้ของฝั่งพระนคร มีอาณาเขตติดต่อกับเขตต่าง ๆ เรียงตามเข็มนาฬิกา ดังนี้

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับเขตห้วยขวาง เขตบางกะปิ และเขตสะพานสูง มีคลองแสนแสบ คลองกะจะ คลองหัวหมาก ลำรางแบ่งเขตสวนหลวงกับเขตบางกะปิ และคลองบึงบ้านม้าเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับเขตประเวศ มีคลองบึงบ้านม้า ลำรางข้างหมู่บ้านเอื้อสุข คลองประเวศบุรีรมย์ และคลองหนองบอนเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศใต้ ติดต่อกับเขตประเวศและเขตพระโขนง มีคลองตาสาด (คลองคู้) คลองเคล็ด ซอยวชิรธรรมสาธิต 57 แยก 36 (ยาจิตร์) ซอยวชิรธรรมสาธิต 57 (สามพี่น้อง) ซอยวชิรธรรมสาธิต 57 แยก 41 (พัฒนพล) คลองบ้านหลาย ลำราง คลองสวนอ้อย คลองขวางบน และคลองบางนางจีนเป็นเส้นแบ่งเขต
  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับเขตวัฒนา มีคลองบางนางจีน คลองพระโขนง และคลองตันเป็นเส้นแบ่งเขต

ประวัติ[แก้]

เขตสวนหลวงเดิมมีฐานะเป็น ตำบลสวนหลวง เป็นเขตการปกครองของอำเภอพระโขนง จังหวัดพระประแดง ต่อมาใน พ.ศ. 2470 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวโปรดเกล้าฯ ให้โอนอำเภอพระโขนงรวมทั้งตำบลสวนหลวงมาขึ้นกับจังหวัดพระนคร[2] โดยตำบลสวนหลวงได้กลายเป็นเป็นท้องที่หนึ่งในเขตสุขาภิบาลประเวศที่ตั้งขึ้นใหม่ใน พ.ศ. 2506[3] จนกระทั่งได้รับการโอนไปเป็นท้องที่ของเทศบาลนครกรุงเทพตั้งแต่ พ.ศ. 2508[4]

ใน พ.ศ. 2514 จังหวัดพระนครถูกรวมเข้ากับจังหวัดธนบุรี เปลี่ยนฐานะเป็นนครหลวงกรุงเทพธนบุรี[5] และใน พ.ศ. 2515 จึงเปลี่ยนแปลงฐานะเป็นกรุงเทพมหานคร[6]

การแบ่งเขตการปกครอง[แก้]

ในวันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 กรุงเทพมหานครได้ประกาศจัดตั้งแขวงอ่อนนุชและแขวงพัฒนาการแยกจากพื้นที่แขวงสวนหลวง โดยมีผลบังคับใช้ในวันเดียวกัน ส่งผลให้เขตสวนหลวงในปัจจุบันแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็น 3 แขวง[12] ได้แก่

หมาย
เลข
อักษรไทย อักษรโรมัน พื้นที่
(ตร.กม.)
จำนวนประชากร
(ธันวาคม 2565)
ความหนาแน่นประชากร
(ธันวาคม 2565)
แผนที่
1.
สวนหลวง Suan Luang
9.251
48,494
5,242.03
แผนที่
2.
อ่อนนุช On Nut
5.894
43,509
7,381.91
3.
พัฒนาการ Phatthanakan
8.533
30,673
3,594.63
ทั้งหมด
23.678
122,676
5,181.01

ประชากร[แก้]

การคมนาคม[แก้]

รถไฟฟ้า
ทางสายหลัก
ทางสายรองและทางลัด

สถานที่สำคัญ

ตลาดเอี่ยมสมบัติ หลังคา พียู โฟม

ถนนกำแพงเพชร 7 หลังคา พียู ลายไม้

ถนนพระราม 9 หลังคา แซนวิช พียูโฟม

ถนนพัฒนาการ แพนเนล พียู

ถนนมอเตอร์เวย์ แผ่นใส สีใสกระจก

ถนนรามคำแหง แผ่นใส สีขาวขุ่น 

ถนนสุขุมวิท 71 (ปรีดี พนมยงค์) หลังคา พียู โฟม

ทางพิเศษศรีรัช หลังคา พียู ลายไม้

 

แขวงพัฒนาการ  หลังคา แซนวิช พียูโฟม

แขวงสวนหลวง แพนเนล พียู ทำฝ้า-เพดาน ทำฝาผนัง-พาร์ติชั่น

Call Now Button